นิทานชาดก

  • นิทานชาดกเรื่อง
  • คำนำ
  • ที่มา

ชาดก ชื่อเรื่อง
๑๔๔ สัญชีวชาดก ปลุกมันขึ้นมาฆ่า
๑๔๓ วิโรจนชาดก สุนัขจิ้งจอกอยากเป็นผู้นำ
๑๔๒ โคธชาดก ฤาษีกินเหี้ย
๑๔๑ สุวรรณหังสชาดก โลภมากลาภหาย
๑๔๐ มูสิชาดก หนูถูกหลอก
๑๓๙ กุสนาฬิชาดก ประโยชน์ของการคบมิตร
๑๓๘ อกาลราวิชาดก ไก่ขันไม่เป็นเวลา
๑๓๗ วัฏฏกชาดก นกกระจาบเจ้าปัญญา
๑๓๖ ติตติรชาดก ตายเพราะปาก
๑๓๕ อนุสาสิกชาดก ดีแต่สอนคนอื่น
๑๓๔ มิตจินตีชาดก ปลาเจ้าปัญญา
๑๓๓ สาลิตตกชาดก คนมีศิลปะ
๑๓๒ นามสิทธิชาดก ชื่อนั้นสำคัญไฉน
๑๓๑ วิสสาสโภชนชาดก การไว้วางใจ
๑๓๐ มหาสารชาดก คนที่เหมาะสมกับเหตุการณ์
๑๒๙ ลิตตชาดก ลูกสกาอาบยาพิษ
๑๒๘ อกตัญญูชาดก ผลของคนอกตัญญู
๑๒๗ กุหกชาดก ดาบสขี้โกง
๑๒๖ มงคลชาดก หนูกัดผ้า
๑๒๕ อัตถัสสทวารชาดก ประตูแห่งประโยชน์
๑๒๔ กาฬกัณณิชาดก มิตรแท้
๑๒๓ สุราปานชาดก เหตุห้ามภิกษุมิให้ดื่มสุรา
๑๒๒ มัจฉชาดก ปลาขอฝน
๑๒๑ รุกขธัมมชาดก ธรรมสำหรับต้นไม้
๑๒๐ สัจจังกิรชาดก คนอกตัญญู
๑๑๙ สีลวนาคชาดก พญาช้างสีลวะ
๑๑๘ วรุณชาดก การทำไม่ถูกขั้นตอน
๑๑๗ สาเกตชาดก คนระลึกชาติได้
๑๑๖ อุจฉังคชาดก หญิงเจ้าปัญญา
๑๑๕ มุทุลักขณชาดก อำนาจแห่งความงาม
๑๑๔ ทุรานชาดก ภาวะของหญิงรู้ได้ยาก
๑๑๓ ตักกชาดก ลักษณะของหญิง
๑๑๒ อสาตมันตชาดก มนต์มายาหญิง
๑๑๑ เภริวาทชาดก การทำเกินประมาณ
๑๑๐ วานรินทชาดก ลิงเจ้าปัญญา
๑๐๙ นักขัตตชาดก ประโยชน์ของฤกษ์
๑๐๘ เวทัพพชาดก อาจารย์ขมังเวทย์
๑๐๗ อารามทูสกชาดก ลิงโง่
๑๐๖ มกสชาดก ฆ่ายุง
๑๐๕ พกชาดก นกกระยางเจ้าเล่ห์
๑๐๔ ติตติรชาดก ลำดับอาวุโส
๑๐๓ วัฏฏกชาดก นกคุ่มโพธิสัตว์
๑๐๒ สัมโมทมานชาดก นกกระจาบ
๑๐๑ มุณิกชาดก หมูมุณิกะ
๑๐๐ มหิลามุขชาดก การเสี้ยมสอน
๙๙ กุรุงคมิคชาดก กวางเจ้าปัญญา
๙๘ อายาจิตภัตตชาดก การเปลื้องตน
๙๗ มตกภัตตชาดก แพะรับบาป
๙๖ ติปัลลัตถมิคชาดก เล่ห์กลลวงนายพราน
๙๕ ขราทิยชาดก ตายเพราะไม่เรียน
๙๔ วาตมิคชาดก อำนาจของรส
๙๓ มฆเทวชาดก บวชเพราะผมหงอก
๙๒ ตัณฑุลนาฬิชาดก ราคาข้าวสาร
๙๑ มังสชาดก วาทศิลป์
๙๐ ชวสกุณชาดก นกหัวขวานกับราชสีห์
๘๙ สมุททชาดก กากินน้ำทะเล
๘๘ อันตชาดก คนชั่วสรรเสริญกันเอง
๘๗ มัจฉทานชาดก บุญที่ให้ทานแก่ปลา
๘๖ ลาภครหิกชาดก วิธีการหลอกลวง
๘๕ พยัคฆชาดก ประโยชน์ของสัตว์ป่า
๘๔ อุลูกชาดก กากับนกเค้า
๘๓ สุชาตาชาดก สะใภ้เศรษฐี
๘๒ สุวรรณกักกฏกชาดก ปูทอง
๘๑ ปทุมชาดก ชายจมูกแหว่ง
๘๐ คามณิจันทชาดก พระราชกุมารผู้อัจฉริยะ
๗๙ มณีกัณฐชาดก ขอในสิ่งที่ไม่ควรขอ
๗๘ หริตมาตชาดก กบเขียว
๗๗ วีณาถูณชาดก วัยรุ่นวุ่นรัก
๗๖ จุลลนันทิยชาดก ลิงสองพี่น้อง
๗๕ ครหิตชาดก ลิงติเตียนมนุษย์
๗๔ กูฏวาณิชชาดก คดีหนูกินผาลเหล็ก
๗๓ กัจฉปชาดก เต่าตายเพราะปาก
๗๒ กันทคลกชาดก นกหัวขวานตายเพราะไม้แก่น
๗๑ สุงสุมารชาดก ลิงเจ้าปัญญา
๗๐ กรุงคมิคชาดก ความร่วมมือกัน
๖๙ คังเคยยชาดก เต่าชอบโอ้อวด
๖๘ ขันธปริตตชาดก พระปริตป้องกันสัตว์ร้าย
๖๗ พันธนาคารชาดก เรือนจำที่แท้จริง
๖๖ สาธุศีลชาดก ตำราเลือกลูกเขย
๖๕ คหปติชาดก ผู้ใหญ่บ้านทวงหนี้ไม่ถูกเวลา
๖๔ ราชชาดก ความจริงที่ไม่ควรพูด
๖๓ ปัพพตูปัตถรชาดก อภัยโทษ
๖๒ รุหกชาดก อาจารย์รุหกะ
๖๑ สีลานิสังสชาดก อานิสงส์ของศีล
๖๐ สีหจัมมชาดก ลาปลอมเป็นราชสีห์
๕๙ สุวัณณหังสชาดก หงส์ทองคำ
๕๘ นันทิวิสาลชาดก โคนันทิวิสาล
๕๗ คิริทัตตชาดก ม้าขาเป๋
๕๖ สตธรรมชาดก อาหารไม่บริสุทธิ์
๕๕ ตินทุกชาดก อุบายหนีตาย
๕๔ กฬายมุฏฐิชาดก ลิงโลภมาก
๕๓ อาทิจจุปัฏฐานชาดก ลิงไหว้พระอาทิตย์
๕๒ ทุพภิยมักกฏชาดก นิสัยของลิงชั่ว
๕๑ กัลยาณธรรมชาดก บวชเพราะแม่ยาย
๕๐ อรกชาดก อานิสงส์การแผ่เมตตา
๔๙ สกุณัคฆิชาดก เหยี่ยวภูเขา
๔๘ สมิทธิชาดก ไม่รู้เวลาตาย
๔๗ อุปสาฬหกชาดก หาที่ตาย
๔๖ นกุลชาดก พังพอนกับงู
๔๕ คิชฌชาดก พญาแร้ง
๔๔ วินีลกชาดก กาเทียมหงส์
๔๓ คุณชาดก ราชสีห์ตกหล่ม
๔๒ สูกรชาดก หมูท้าชนราชสีห์
๔๑ สิคาลชาดก ราชสีห์ ๘ พี่น้อง
๔๐ การันทิยชาดก ลูกศิษย์สอนอาจารย์
๓๙ สุชาตกุมารชาดก ลูกสอนพ่อ
๓๘ สีลวิมังสชาดก ความลับไม่มีในโลก
๓๗ คูถปาณกชาดก หนอนท้าสู้กับช้าง
๓๖ ปัณณิกชาดก พ่อลองใจลูกสาว
๓๕ กูฏวาณิชชาดก พ่อค้าโกง
๓๔ พระสุบินชาดก พระมหาสุบิน ๑๖ ข้อ
๓๓ ปัณฑรกาชาดก นาคกับพญาครุฑ
๓๒ ฉัททันตชาดก พญาช้างฉัททันต์
๓๑ กุมภชาดก กำเนิดสุรา
๓๐ สัตติคุมพชาดก พี่น้องยังต่างใจกัน
๒๙ มหาโมรชาดก พญานกยูงทอง
๒๘ มหาอุกกุสชาดก สัตว์ ๔ สหาย
๒๗ สาลิเกทารชาดก พญานกแขกเต้ายอดกตัญญู
๒๖ ตักการิยชาดก ตายเพราะปาก
๒๕ ชวนหังสชาดก ความเร็วของพญาหงส์
๒๔ ผันทนชาดก หมีกับไม้ตะคร้อ
๒๓ มาตุโปสกชาดก พญาช้างยอดกตัญญู
๒๒ หริตจชาดก ดาบสฌานเสื่อม
๒๑ มหธัมมปาลชาดก ตระกูลที่ไม่ตายวัยหนุ่ม
๒๐ มูติสาชาดก มองในเวลาที่ไม่ควรมอง
๑๙ มหาสุวราชชาดก พญานกแขกเต้าผู้สันโดษ
๑๘ ทิปิชาดก แพะกับเสือเหลือง
๑๗ อัฏฐสัททชาดก เสียงสัตว์ ๘ ชนิด
๑๖ มหากปิชาดก คุณธรรมของหัวหน้า
๑๕ ทัพพปุบผาชาดก แบ่งกันไม่ลงตัว
๑๔ สุตนชาดก ชายหนุ่มปราบยักษ์
๑๓ สุวรรณกักกฏกชาดก ปูทองผู้ฉลาด
๑๒ ขุรปุตตชาดก พระราชาผู้รู้เสียงสัตว์
๑๑ กุกกุฏชาดก พญาไก่ป่า
๑๐ อาวาริยชาดก ค่าจ้างเรือ
๐๙ สาลิยชาดก หมอผู้โชคร้าย
๐๘ สุวรรณมิคชาดก พญาเนื้อทอง
๐๗ ลฏุุกิกชาดก นางนกไส้
๐๖ ราโชวาทชาดก คุณสมบัติของผู้นำ
๐๕ กากาติชาดก นางกากี
๐๔ พรหมทัตตชาดก การขอ
๐๓ ทุททุภายชาดก กระต่ายตื่นตูม
๐๒ ติติรชาดก บาปเกิดจากความจงใจ
๐๑ สสปัณฑิตชาดก กระต่ายผู้สละชีวิต

 


คำนำ

   นิทานชาดกหรือชาดก เป็นเรื่องเกี่ยวกับการบำเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตว์ แสดงถึงความเป็นมาในพระชาติต่างๆ ที่ได้เกิดมาสร้างบารมีเอาไว้เพื่อการตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า เราเรียกว่าพระเจ้า ๕๐๐ ชาติ ปรากฏในคัมภีร์พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๗ , ๒๘ มีทั้งหมด ๕๔๗ เรื่อง อาจมีทั้งเรื่องที่ซ้ำกันบ้างแต่คาถาจะต่างกัน หรือบางเรื่องที่ยกมาเพียงคาถาเดียวจากเรื่องที่มีหลายๆ คาถา

นิทานชาดกนั้นมีคัมภีร์หลักอยู่ ๒ ส่วน คือ คัมภีร์พระสุตตันตปิฏก และคัมภีร์อรรถกถาขยายความเรื่องอีก ๑๐ เล่ม นอกนั้นอาจปรากฏในพระวินัยปิฏกและพระสูตรส่วนอื่นๆ หรือมีปรากฏในคัมภีร์อรรถกภาธรรมบทบ้าง

นิทานชาดกในอรรถกถามีโครงสร้าง ๕ ส่วนคือ

     ๑. ปัจจุบันนิทาน กล่าวถึงเรื่องที่เกิดขึ้นในสมัยพระพุทธเจ้ายังทรงพระชนม์อยู่ ประทับอยู่ที่ไหน ทรงปรารภใคร
     ๒. อดีตนิทาน เป็นเรื่องชาดกโดยตรง เรื่องที่เคยมีมาในอดีต บางเรื่องเป็นเรื่องทางประวัติศาสตร์ของชนชาติต่างๆ ในชมพูทวีป บางเรื่องเป็นนิทานท้องถิ่น บางเรื่องเป็นนิทานเทียบสุภาษิต เช่น คนพูดกับสัตว์ สัตว์พูดกับสัตว์ เป็นต้น
     ๓. คาถา เป็นพุทธพจน์ที่ปรากฏในพระไตรปิฎก บางเรื่องเป็นพุทธพจน์โดยตรง บางเรื่องเป็นฤาษีภาษิต บางเรื่องเป็นเทวดาภาษิต แต่ถือเป็นพุทธพจน์เพราะเป็นคำที่นำมาตรัสเล่าใหม่
     ๔. เวยยากรณภาษิต เป็นการอธิบายธรรมที่ปรากฏในชาดกนั้นๆ เพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้น
     ๕. สโมธาน เป็นการสรุปชาดกให้เห็นว่าผู้ปรากฏในชาดกนั้นๆ เป็นใคร เคยทำอะไรไว้

แต่ในที่นี้ได้กำหนดโครงสร้างนิทานชาดกไว้เพียง ๔ ตอน คือ
     ตอนที่หนึ่ง เป็นบทนำเรื่องทำให้ทราบว่าพระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่ใดปรารภใครถึงได้ตรัสนิทานเรื่องนี้
     ตอนที่สอง เป็นอดีตนิทานชาดกที่พระพุทธองค์ทรงนำมาสาธก
     ตอนที่สาม เป็นคาถาประจำเรื่องนั้นๆ ซึ่งมีทั้งเป็นคาถาของพระพุทธเจ้า เทวดา บัณฑิต พระโพธิสัตว์ และสัตว์ในเรื่อง และ
     ตอนที่สี่ตอนสุดท้าย เป็นคติประจำใจที่ไม่มีในอรรถกถาที่ผู้เขียนได้จัดทำขึ้นใหม่ เพื่อให้ครบองค์ของนิทานที่เรามักจะหยอดคำลงท้ายด้วยคำว่า นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่าอะไรเสมอ

   เนื้อเรื่องได้คัดเอาแต่เรื่องที่น่าสนใจเท่านั้นมานำเสนอคิดไว้ว่าคงจะมีหนังสือนิทานชาดกเล่มที่ ๑-๕ เพราะแต่ละเล่มจะให้มีประมาณ ๕๐ เรื่องเท่านั้น เพื่อความสะดวกสบายในการหยิบพกนั่นเอง แต่ละเรื่องจะบอกที่มาไว้ทุกเรื่อง เนื้อเรื่องได้สรุปมาพอเป็นที่เข้าใจ ถ้าจะนำไปเล่าก็สามารถขยายความได้ เพราะมีเจตนาที่จะทำนิทานชาดกให้เป็นเรื่องง่ายและน่าสนใจยิ่งขึ้น ถ้ากล่าวถึงพระไตรปิฎกหรืออรรถกถาแล้วเป็นการลำบากที่จะให้ความสนใจ แต่ถึงกระนั้นก็ยังคงสำนวนเดิมเอาไว้มากพอสมควร เนื่องจากเป็นพระพุทธพจน์จึงต้องคงสำนวนบาลีเอาไว้บ้างเพื่อความเหมาะสม แต่ผู้รู้ก็แนะนำว่า ควรปรับเปลี่ยนสำนวนให้เป็นภาษาชาวบ้านมากยิ่งขึ้น เพื่อคนทั่วไป รวมถึงเด็กๆ ที่ชอบอ่านนิทานจะได้อ่านง่าย

   นิทานชาดกเล่มที่ ๑ นี้มีทั้งหมด ๕๔ เรื่อง คัดสรรจากจำนวน ๑๕๐ เรื่อง จากหนังสืออรรถกถา ๒ เล่ม เป็นผลพวงที่เกิดจากปัจจัย ๒ อย่าง คือ จากการจักรายการวิทยุกระจายเสียง ในปี ๒๕๔๓ ชื่อรายการ นิทานธรรมะชาดก ทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทสไทย จังหวัดหนองบัวลำภู เอฟ.เอ็ม. ๙๗.๒๕ เม็กกะเฮิร์ต เป็นประจำทุกวันจันทร์ เวลา ๑๔.๐๐-๑๕.๓๐ น. และจากการเสียชีวิตของพ่อและแม่ บุพการีของข้าพเจ้าเอง นอกจากเหตุผล ๒ ประการแล้ว ยังมีเหตุผลส่วนตัวที่ได้คิดไว้ว่าจะจัดทำหนังสือนิทานชาดกโดยการเรียบเรียงใหม่ให้เป็นสำนวนชาวบ้านมากขึ้น เพราะคำนึงถึงการที่จะมีใครสักคนได้มีโอกาสหยิบเอาหนังสือพระไตรปิฎก หรืออรรถกถาแปลติดมือไปนั่งอ่านเล่นในที่ใดที่หนึ่งนั้น คงจะหายากเต็มที ในอดีตเราได้เรียนรู้และรู้จักนิทานชาดกกันตั้งแต่เด็ก นั่นก็คือหลักสูตรชั้นประถมชั้นปีที่ ๓ เดิม เราจะได้เรียนนิทานชาดกเรื่อง กระต่ายตื่นตูม และ โคนันทิวิสาล เป็นต้นแล้ว ต่อเมื่อได้มีโอกาสศึกษาจึงได้ถึงบางอ้อ

   ขออนุโมทนาขอบคุณ รองศาสตรจารย์อุดม บัวศรี อาจารย์อุดร จันทวัน ที่ช่วยแนะนำเป็นที่ปรึกษาทุกด้าน ขอขอบคุณ ท่านพระมหาสาคร เอกวีโร นิสิตสาขาปรัชญา ปีที่ ๓ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ที่ช่วยเขียนภาพประกอบเรื่อง และขอขอบใจในกุศลจิตของ หนูนิก (ธีรณิศ มุกดาหาร) และ กัลยาณมิตรอีกหลายท่านที่ช่วยพิมพ์ต้นฉบับให้ ข้อบกพร่องใดๆ ที่มีอยู่ ผู้เขียนขอน้อมรับไว้เพื่อปรับปรุงแก้ไข ส่วนใดที่เป็นความดี ขออุทิศบุญกุศลให้แก่บุพการีผู้ล่วงลับไป



ขอเชิญรับฟังวิทยุ มหาจุฬาฯ วิทยาเขตขอนแก่น

ที่มา : หนังสือนิทานชาดก โดย พระมหาสุนทร สุนฺทรธฺมโม
ภาพประกอบ : พระมหาสาคร เอกวีโร

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
วัดธาตุ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๐๐๐ โทร ๐๔๓-๒๒๒๑๐๑, ๐๔๓-๓๒๐๘๕๐

สำนักพิมพ์ : มหาอุตร์
๓/๙๖๓ ซอยเคหะ ๒ ถ.กลางเมือง
อ.เมือง จ.ขอนแก่น

พิมพ์ที่ : หจก.โรงพิมพ์ลังนานาวิทยา
อำเภอเมือง ขอนแก่น
โทร ๐๔๓-๓๒๘๕๘๙-๙๑





• เธžเธฃเธฐเธ„เธฃเธนเธงเธดเธกเธฅเธ„เธธเธ“เธฒเธเธฃ (เธซเธฅเธงเธ‡เธ›เธนเนˆเธจเธธเธ‚) เธงเธฑเธ”เธ›เธฒเธเธ„เธฅเธญเธ‡เธกเธฐเธ‚เธฒเธกเน€เธ’เนˆเธฒ เธˆ.เธŠเธฑเธขเธ™เธฒเธ— (2390 - 2466)

• เธ„เธงเธฒเธกเน€เธ„เธขเธŠเธดเธ™เนƒเธ™เธ—เธฒเธ‡เธ—เธตเนˆเน„เธกเนˆเธ”เธต เนเธเน‰เน„เธ‚เน„เธ”เน‰เธ”เน‰เธงเธขเธเธฒเธฃเธ„เนˆเธญเธขเน† เธชเธฃเน‰เธฒเธ‡เธ„เธงเธฒเธกเน€เธ„เธขเธŠเธดเธ™เนƒเธ™เธ—เธฒเธ‡เธ—เธตเนˆเธ”เธตเธ—เธ”เนเธ—เธ™

• เธ‚เธญเน€เธŠเธดเธเธŠเธงเธ™เธฃเนˆเธงเธกเธ›เธเธดเธšเธฑเธ•เธดเธ˜เธฃเธฃเธกเน‚เธ„เธฃเธ‡เธเธฒเธฃเธžเธธเธ—เธ˜เธชเธฒเธงเธเธชเธฒเธงเธดเธเธฒเธซเธฅเธฑเธเธชเธนเธ•เธฃ เธžเธฑเธ’เธ™เธฒเธˆเธดเธ•เธ•เธฒเธกเธซเธฅเธฑเธเน„เธ•เธฃเธชเธดเธเธ‚เธฒ เธงเธฑเธ™เธจเธธเธเธฃเนŒ, เน€เธชเธฒเธฃเนŒ, เธญเธฒเธ—เธดเธ•เธขเนŒ เธซเธฃเธทเธญเธงเธฑเธ™เธ™เธฑเธเธ‚เธฑเธ•เธคเธเธฉเนŒ

• เธญเธฒเธ™เธดเธชเธ‡เธชเนŒเธ‚เธญเธ‡เธšเธธเธ เน‚เธ”เธข เธซเธฅเธงเธ‡เธžเนˆเธญเธชเธธเธฃเธจเธฑเธเธ”เธดเนŒ เน€เธ‚เธกเธฃเธฑเธ‡เธชเธต

• เธเธฒเธฃเน„เธงเน‰เธงเธฒเธ‡เนƒเธˆ (เธงเธดเธชเธชเธฒเธชเน‚เธ เธŠเธ™เธŠเธฒเธ”เธ)

 เธซเธ™เน‰เธฒเนเธฃเธ
 เธ—เธตเธกเธ‡เธฒเธ™เธ˜เธฃเธฃเธกเธฐเน„เธ—เธข
 เนเธœเธ™เธœเธฑเธ‡เน€เธงเน‡เธšเน„เธ‹เธ•เนŒ
 เธ„เน‰เธ™เธซเธฒเธ‚เน‰เธญเธกเธนเธฅ
 เธ•เธดเธ”เธ•เนˆเธญเธ˜เธฃเธฃเธกเธฐเน„เธ—เธข
 เธชเธกเธธเธ”เน€เธขเธตเนˆเธขเธก
 เธ˜เธฃเธฃเธกเธฐเนƒเธ™เธชเธงเธ™
 เน€เธ„เธฃเธทเธญเธ‚เนˆเธฒเธขเธ˜เธฃเธฃเธกเธฐ
 เธจเธนเธ™เธขเนŒเธฃเธงเธกเธ เธฒเธž
 เธชเธฑเธเธฅเธฑเธเธฉเธ“เนŒเน„เธ—เธข
 เธกเธธเธกเธชเธกเธฒเธŠเธดเธเธ˜เธฃเธฃเธกเธฐเน„เธ—เธข
 Donation
 เน€เธ—เธจเธเธฒเธฅเธ‡เธฒเธ™เธงเธฑเธ”เธŠเนˆเธงเธขเธŠเธฒเธ•เธด
 เธ‚เนˆเธฒเธงเธ˜เธฃเธฃเธกเธฐ
 เธเธฒเธฃเน€เธœเธขเนเธœเนˆเธจเธฒเธชเธ™เธฒ
 เธ›เธฃเธฐเน€เธžเธ“เธตเน„เธ—เธข

เธˆเธตเธฃเธฑเธ‡ เธเธฃเธธเนŠเธ›    

 ธรรมะไทย