ปฏิบัติธรรมแบบเจโตวิมุติ รุ่นวิปัสสนาจารย์ 3 กค. - 30 ธค. ของทุกปี ณ ปัณฑิตารมย์ หมู่ที่ 5 ต.พุคำจาน อ.พระพุทธบาท จ.สระบุรี

 มหาราชันย์  

เชิญร่วมปฏิบัติธรรมแบบเจโตวิมุติ รุ่นวิปัสสนาจารย์ 3 มค. - 30 มิย. และ 3 กค. - 30 ธค.
ของทุกปี ณ ปัณฑิตารมย์ หมู่ที่ 5 ต.พุคำจาน อ.พระพุทธบาท จ.สระบุรี
ผู้สนใจศึกษาและปฏิบัติ ติดต่อ
Tel. 089 - 766 – 2373
E-Mail : karagetu@hotmail.com
ID Line : karagetu
Face Book : Saenphumsuksawas Karagetu

ตารางปฏิบัติธรรมประจำวัน (อาจปรับเปลี่ยนตามความสามารถของผู้เรียน)
ตารางปฏิบัติธรรมประจำวัน
๐๔.๓๐-๐๕.๐๐ น. ตื่นนอน
๐๕.๐๐-๐๗.๐๐ น.ภาคปฏิบัติแบบเจโตวิมุติ
เจริญอานาปานสติแบบปัญญาวิมุติมีฌาน ๑-๔ เป็นบาท แบบเจโตวิมุติ ฌาน ๑-๘ เป็นบาท
๑.เจริญอานาปานสติให้มีผลมากและเจริญอานาปานสติให้เป็นเป็นสติปัฏฐาน ๔
๒.เจริญสติปัฏฐาน ๔ ให้เป็นโพชฌงค์ ๗
๓.เจริญโพชฌงค์ ๗ ให้เป็นวิชชาและวิมุติ
๔.และ/หรือ การปฏิบัติแบบบุรุษอาชาไนย
๕.ภาคทฤษฎี สนทนาธรรม ถาม - ตอบปัญหาต่าง ๆ ๒๐ สาระวิชา
๐๗.๐๐-๐๙.๐๐ น. รับประทานอาหารเช้า - อาบน้ำ
๐๙.๐๐-๑๒.๐๐ น.ภาคปฏิบัติแบบเจโตวิมุติ
๑.เจริญสมาธิให้บริบูรณ์เพื่อบรรลุ มัคคจิต ๔ โดยเจริญอริยสัจ ๔ มีฌาน ๔ เป็นบาท
๒.ฝึกวิชชา ๘ ต่อ เพื่อเจริญอินทรีย์ ๘ มรรค ๘ และพละ ๗ ให้แก่กล้า
๓.ภาคทฤษฎี สนทนาธรรม ถาม - ตอบปัญหาต่าง ๆ ๒๐ สาระวิชา

๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน
๑๓.๐๐-๑๖.๐๐ น.ภาคปฏิบัติแบบเจโตวิมุติ
๑.เจริญอนัตตลักขณสูตรมีฌาน ๔ เป็นบาท
๒.ฝึกปัญญาในความสำเร็จด้วยอำนาจแห่งการอธิษฐาน เป็นญาณลำดับที่ ๕๐ เป็นบาทแก่เจโตวิมุติ
๓.และ/หรือ การปฏิบัติแบบจิตตกรีฑา ๑๔ ขั้นตอน
๔.ภาคทฤษฎี สนทนาธรรม ถาม - ตอบปัญหาต่าง ๆ ๒๐ สาระวิชา
๑๖.๐๐-๑๘.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็นและอาบน้ำ
๑๘.๐๐-๒๑.๐๐ น. ภาคปฏิบัติแบบเจโตวิมุติ
๑.เจริญปฏิจจสมุปบาทสายเหตุให้เกิดทุกข์มีฌาน ๔ เป็นบาท
๒.เจริญปฏิจจสมุปบาทสายทางเข้าถึงซึ่งความดับทุกข์มีฌาน ๔ เป็นบาท
๓.และ/หรือ การปฏิบัติแบบเจโตวิมุติ มีฌานสมาบัติ ๘ กสิณ ๘ เป็นบาท
๒๑.๐๐-๒๓.๐๐ น. ภาคทฤษฎี สนทนาธรรม ถาม - ตอบปัญหาต่าง ๆ ๒๐ สาระวิชา
๒๓.๐๐-๐๔.๓๐ น. นอน
..............................
... เชิญร่วมศึกษาและปฏิบัติธรรมแบบเจโตวิมุติ ...
หลักสูตรวิปัสสนาจารย์ การศึกษาและปฏิบัติธรรมแบบเจโตวิมุติ – ปัญญาวิมุติอันหาอาสวะมิได้
ปีละ 2 รุ่น
รุ่นที่ 1 เริ่ม 3 มกราคม - 30 มิถุนายน ของทุกปี
รุ่นที่ 2 เริ่ม 3 กรกฎาคม - 30 ธันวาคม ของทุกปี
.
รายวิชาการศึกษาและปฏิบัติ 21 รายวิชา
ภาคทฤษฎี รายวิชาละ 32 ชั่วโมง 2 หน่วยกิต
ภาคปฏิบัติ รายวิชาละ 32 ชั่วโมง 1 หน่วยกิต
หลักสูตรธรรมปฏิบัติ รุ่นวิปัสสนาจารย์
1.พระไตรปิฎกศึกษาเบื้องต้น บาลี อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา ธัมมัตถาธิบาย
2.ความหมายของธรรมะ
-เหตุและผลคืออะไร ?
-พระพุทธศาสนาคืออะไร ?
-ใบไม้ในกำมือคืออะไร ?
-ปฏิบัติอริยสัจ 4 ด้วยปัญญาวิมุติเจโตวิมุติคืออย่างไร ?
- ธรรมะคืออะไร ?
-แค่ไหนเรียกว่าบุคคลผู้ปฏิบัติธรรม ?
-ปฏิบัติอย่างไรจึงจะบรรลุโสดาบัน ?
3.ประเภทของจิต,ชนิดของขันธ์
4.ธัมมจักรกัปปวัตตนสูตร, ปริวัฏฏญาณ 12
สัมมาทิฏฐิแค่ไหนจึงจะเพียงพอต่อการบรรลุธรรมแบบเจโตวิมุติและปัญญาวิมุติ ??
5.อริยสัจ 4 ในคาถาธรรมบท
พระคาถา 1 บทมีอริยสัจ 4 เป็นองค์ประกอบอย่างไร ??
6.สติปัฏฐาน 4
การปฏิบัติในสติปัฏฐาน 4 แบบเจโตวิมุติและปัญญาวิมุติแตกต่างกันอย่างไร ??
-สติปัฏฐาน 4 ในพระสูตร
-สติปัฏฐาน 4 ในอภิธรรม
-การปฏิบัติเจริญสติปัฏฐาน 4 แบบปัญญาวิมุติมีฌาน ๑-๔ เป็นบาท แบบเจโตวิมุติ ฌาน ๑-๘ เป็นบาท
-การปฏิบัติเจริญสติปัฏฐาน 4 แบบสุขาปฏิปทา และการบรรลุธรรมเรียงตามลำดับขันธ์
7.สามัญผล
-การปฏิบัติวิชชา 8 แบบสุขาปฏิปทา และการบรรลุธรรมเรียงตามลำดับญาณ
8.แก่นพรหมจรรย์ เจโตวิมุติและปัญญาวิมุติ
-การบรรลุธรรมเรียงตามลำดับขันธ์ และการบรรลุธรรมเรียงตามลำดับญาณ เคียงคู่กันไป
-แบบปัญญาวิมุติมีฌาน ๑-๔ เป็นบาท แบบเจโตวิมุติ ฌาน ๑-๘ เป็นบาท
9.การละสังโยชน์ 10 ด้วยวิชชาและจรณะ
-วิชชาและจรณะทำลายสังโยชน์ได้อย่างไร ?
10.อานาปานสติแบบสุขาปฏิปทา
การปฏิบัติในอานาปานสติ แบบเจโตวิมุติและปัญญาวิมุติแตกต่างกันอย่างไร ??
-เจริญอานาปานสติให้มีผลมาก -แบบปัญญาวิมุติมีฌาน ๑-๔ เป็นบาท แบบเจโตวิมุติ ฌาน ๑-๘ เป็นบาท
-เจริญอานาปานสติให้สติปัฏฐาน 4 บริบูรณ์
-เจริญสติปัฏฐาน 4 ให้โพชฌงค์ 7 บริบูรณ์
-เจริญโพชฌงค์ 7 ให้วิชชาและวิมุติบริบูรณ์
11. อริยมรรคมีองค์ 8 เป็นทางสายกลางอย่างไร ? เกิดขึ้นได้อย่างไร เกิดที่ไหนตั้งอยู่ที่ไหน ?
-มรรคมีองค์ 8 ที่ตั้งไว้ถูกและตั้งไว้ผิด
12.สัจจะ๔, สามัญลักษณะ – อริยสัจ 4 – ปฏิจจสมุปบาท – กาลเวลา
13. อาหาร๔, สังขาร 3 ,ภพ 3 ภูมิ 4
14.ประเภทของฌาน
-โลกียะฌาน รูปฌาน 4 อรูปฌาน 4
-โลกุตตระฌาน วิปัสสนาจิต มัคคจิต ผลจิต
15. .ปฏิจจสมุปบาท
-นานาภาวะ เอกภาวะ และสัพพะภาวะ
-ปฏิจจสมุปบาทในพระสูตร
-ปฏิจจสมุปบาทในพระอภิธรรม
-ปฏิจจสมุปบาทในอริยสัจ 4
16.อาสาวักขยญาณ
-ต้มยำกุ้ง เปรียบเทียบกับ อาสาวักขยญาณ
-ปัญญาในการรู้จักความชำนาญแห่งอินทรีย์ 3 โดยอาการ 64
17.องค์ธรรมต่าง ๆ ในมัคคจิต 4 (มากกว่า 60 )
18.มัคคภาวนา 19 ประการ
19.ญาณ 73
20.สภาวธรรมต่าง ๆ ที่ควรรู้



6,247






จีรัง กรุ๊ป    

 ธรรมะไทย