"จิตไม่เห็นเองแล้วมันจะไม่ยอม" (หลงปู่ศรี มหาวีโร)
.
"จิตไม่เห็นเองแล้วมันจะไม่ยอม"
" .. "ถ้าจิตใจไม่เห็นเองแล้วมันจะไม่ยอม" คล้ายกับว่าผลหมากรากไม้ซึ่งอยู่เมืองนอก ไต้ยินแต่ชื่อเขา เล่าลือว่ามีรลเอร็ดอร่อยว่าดีปานใด "ถ้าหากไม่ได้ลิ้มชิมดู ก็ยังไม่ยอมเชื่อ" ต่อเมื่อเราไต้ลิ้มรสลองว่ามีรสเป็นอย่างไรแล้ว จีงจะตัดสินใจเชื่ออย่างเต็มที่ ถ้าไต้ยินแต่ข่าวลือก็ว่ากันไปอย่างนั้นแหละ
"เรื่องของธรรมะก็เหมือนกัน" ถ้าหากไม่เข้าถึงจิตตราบใด มันก็ไม่รู้สึกตัว ไม่รู้สึกตัวมันก็ไม่ยอมรับ ไต้ยินแต่สัญญา บอกว่าธรรมะเหล่านี้เป็นรูปนั้นวิธีนี้ ให้ผลแบบนั้นแบบนี้ว่าก็ไม่เชื่อ ถ้าหากจิตใจยังไม่ไต้ดูดดื่มรสของ ธรรมะก่อน มันต้องอาศัยความดูดดื่มของรสธรรมะ "จิตใจเข้าถึงธรรมะ ธรรมะเข้าถึงจิตใจ" เออทืนี้ก็รู้เรื่องดี
ที่นี้ก็ถึงขั้นตัดสินใจเองไต้ตามหลักสัจธรรม "หากไม่รู้เองเห็นเองแล้วเป็นไม่ยอมวางง่าย ๆ" ถ้าเทียบ ทางโลกง่าย หมายความว่า คนอื่นว่าไม่ยอมเชื่อง่าย ๆ อาจเชื่อบ้างแต่ไม่ลงถึงใจ คือไม่เห็นขัด เข่น "เทียบกับคนไปทอดแห" งมลงไปในนํ้าจับถูกงูนีกว่าเป็นปลาไหล จึงจับจนแน่น "พอยกขึ้นพ้นนั้ารู้ว่าเป็นงู ไม่รู้ว่ามือมันวางตั้งแต่เมื่อไร ไมใต้บอกให้มันวางยาก" ใจมันสั่งให้มือวางตั้งแต่เมื่อไรไม่รู้เพราะกลัว "ลักษณะของจิตก็เหมือนกัน" .. "
"โอวาทธรรม" ปฏิปทามหาวีโร
หลงปู่ศรี มหาวีโร